วันศุกร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ประเทศที่มีกษัตริย์เป็นประมุข

ประเทศที่มีกษัตริย์เป็นประมุข
 
http://www.dmsc.moph.go.th/webroot/secretary/Homepage/news49/june/2.html
       
        ปัจจุบันมีดินแดนที่ประมุขเป็นพระมหากษัตริย์ พระราชาธิบดี หรือ เจ้าผู้ครองรัฐ 28 ประเทศ (รวมประเทศไทย) แบ่งตามภูมิภาค
ที่กระทรวงการ ต่างประเทศมีหน่วยงานระดับกรมประสานงานได้แก่ 


  • ทวีปอเมริกาและแปซิฟิกใต้ 2 ประเทศ 
  • เอเชียตะวันออก 4 ประเทศ 
  • เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา 12 ประเทศ* และ
  • ยุโรป 10 ประเทศ 


ดังนี้
อเมริกาและแปซิฟิกใต้
  1. รัฐอิสระชามัว (Independent State of Samoa) ประมุขรัฐ : มาลีเอตัว ตานุมาฟิลิที่ 2 (Tanumafili ll MALIETOA)Malietoa Tanumafili II.gif 
  2. ราชอาณาจักรตองกา (Kingdom of Tonga) ประมุขรัฐ : กษัตริย์ โตฟาอาโหตูโปที่ 4 (Taufa'ahau Tupou IV) สืบราชสมบัติจากพระราชินี ซาโลเตตูโป ที่ ๓ (Queen Salote Tupou lll) พระมารดา เมื่อ พ.ศ.๒๕๐๘ หลังจากนั้น ๒ ปี จึงได้มีพิธีราชาภิเษก เมื่อ ๔ กรกฎาคม ๒๕๑๐

เอเชียตะวันออก
  1. บรูไนดารุสซาลาม (Brunei Darus salam) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์ มูอิซซัดดิน วัดเดาละห์ (His Majesty Paduka Seri Baginda Sultan Haji Hassanal Bolkiah Mu'izzaddin Waddaulah) ราชาภิเษกเมื่อ ๕ ตุลาคม ๑๕๑๐                                                                             Hassanal Bolkiah.jpg
  2. ราชอาณาจักรกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ประมุขรัฐ : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหโมนี (HM Preah Bat Samdech Preah Baromneath Norodom Sihamoni) ได้รับการคัดเลือกจากสภาราชบัลลังก์ให้ขึ้นครองราชย์ เมื่อ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๔๗                                                             Norodom crop.jpg
  3. ญี่ปุ่น (Japan) ประมุข : สมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ (His Majesty Emperor Akihito) ครองราชย์เมื่อ ๗ มกราคม ๒๕๓๒ พระมเหสี: พระจักรพรรดินีมิชิโกะ (Her Majesty Empress Michiko)                                                                        
  4. มาเลเซีย (Malaysia) ประมุข: สมเด็จพระราชาธิบดี ตนกู ไซด์ ซีราจุดเดิน อิบนิ อัลมาร์ฮุมตนกู ไซด์ ปุตรา จูมาลูลลาอิล (HM the Yang di-Pertuan Agong Xll. Tuanku Syed Sirajuddin lbni Al-Marhum Tuanku Syed Putra Jamalullail) ราชาภิเษก เมื่อ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๔๔ พระมเหสี: สมเด็จพระราชินีตนกู โฟเซีย บินติ อัลมาร์ฮุม เต็งกู อับดุล ราชิด (HM The Raja Permaisuri Agong. Tuanku Fauziah binti Al-Marhum Tengku Abdul Rashid)

เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา
  1. ราชอาณาจักรบาห์เรน (Kingdom of Bahrain) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีซาอิคห์ ฮะมัด บิน อิซา อัลคาลิฟา (HM King Shaikh Hamad Bin lsa Al-Khalifa) ดำรงตำแหน่งเจ้าผู้ครองรัฐตั้งแต่ 6 มีนาคม ๒๕๔๒ และ กษัตริย์แห่งบาห์เรนตั้งแต่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๕ พระชายา : เชกา ซาบีกา บิน อิบราฮิม อัลคาลิฟา (HH Shaika Sabeeka bin lbrahim Al-Khalifa)
  2. ราชอาณาจักรภูฎาน (Kindom of Bhutan) ประมุข : สมเด็จพระ ราชาธิบดีจิกมี ชินกี วักชุก (Jigme singye Wangchuck) ครองราชย์เมื่อ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๑๕ เป็นสมเด็จพระราชาธิบดีองค์ที่ ๔ แห่งราชวงศ์วังซุก                                                         
  3. ราชอาณาจักรฮาเซไมต์จอร์แดน (Hashemite Kingdom of Jordan) ประมุข : กษัตริย์อับดุลลาห์ ที่ ๒ (HM King Abdallah ll Bin Al-Hussein) ครองราชย์เมื่อ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๔King Abdullah - World Economic Forum on the Middle East 2008.jpg
  4. รัฐคูเวต (State of Kuwait) ประมุข : ซีค จาเบอร์ อัลอาหมัด อัลจาเบอร์ อัลซาบาห์ (HH Sheikh Jaber Al-Ahmad Al-Jaber Al-Sabah) เป็นเจ้าผู้ครองรัฐคูเวต (Amir of Kuwait) เมื่อ ๒๙ มกราคม ๒๕๔๙
  5. ราชอาณาจักรเลโซโท (Kingdom of Lesotho) ประมุข : กษัตริย์ เลทซีที่ 3 (HM King Letsie lll) ครองราชย์เมื่อ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ พระมเหสี: พระราชินีมาเซนาเตโม ฮาโตซีอิโซ (HM Queen Masenate Mohato Seeiso)
  6. ราชอาณาจักรโมร็อกโก (The Kingdom of Morocco) ประมุข : สมเด็จะพระราชาธิบดี โมฮัมเหม็ดที่ ๖ (Mo-hammed VI) ครองราชย์เมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ทรงเข้าพิธีพระบรมราชาภิเษกเมื่อ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๔๒ พระชายา : เจ้าหญิงลาลลา ซาลมา (HRH Princess Lalla Salma)              Mohammed VI of Morocco 2004.jpg
  7. ราชอาณาจักรเนปาล (Kingdom of Nepal) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีกิเนนทรา พีร์ พิกรม ซาห์ เทพ (HM King Gy-anendra Bir Bikram Shah Dev) กษัตริย์แห่งราชวงศ์ซาห์องค์ที่ +๓ ครองราชย์เมื่อ ๔ มิถุนายน ๒๕๔๔ พระมเหสี : สมเด็จพระราชินีโกมาล รัชยา ลักษมีเทวีซาห์ (HM Queen Komal Rajya Laxmi Devi Shah)                     King Gyanendra of Nepal.jpg
  8. รัฐสุลต่านโอมาน (The Sultanate of Oman) ประมุข : สุลต่าน คาบูส บิน ซาอิพด อัล ซาอิด (HM Sultan Qaboos Bin Said Al Said) ครองราชย์เมื่อ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๑๓
  9. รัฐกาตาร์ (State of Qatar) ประมุข : เ ช็ค ฮามัด บิน คาลิฟา อัล-ตานี (HH Shaikh Hamad Bin Khalifa Al-Thani) เป็นเจ้าผู้ครองรัฐกาตาร์ (Amir of Qatar) เมื่อ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๓๘ พระชายา : ซีคา โมซา ลิน นาเซอร์ อัล-มุลนาด (HH Sheikha Moza Bin Nasir Al-Musnad)1164987463
  10. ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย (The Kingdom of Saudi Arabia) ประมุขของรัฐและนายกรัฐมนตรี : สมเด็จพระราชาธิบดีฟาฮัด (The Custodian of the Two Holy Mosques King Fahad Bin Abdul Aziz Al-Saud) ครองราชย์ เมื่อ ๑ สิงหาคม ๒๕๔๘Abdullah of Saudi Arabia.jpg
  11. ราชอาณาจักรสวาซิแลนด์ (King dom of Swaziland) ประมุข : พระราชาธิบดีสวาติ ที่ ๓ (HM King Mswati lll) ครองราชย์เมื่อ ๒๕ เมษายน ๒๕๒๙                             King Mswati III.jpg
  12. สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ (United Arab Emirates) ประมุข : ซีค คาลิฟา บิน ซาอิด อัลนาฮ์ยัน (HH Sheikh Khalifa Bin Zayed Al-Nahyan) เป็นเจ้าผู้ครองแห่งอาบูดาบี (Ruler of Abu Dhabi) เมื่อ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗

ยุโรป
  1. ราชอาณาจักรเบลเยียม (Kingdom of Belgium) ประมุข : สมเด็จ พระราชธิบดีอัลแบร์ ที่ ๒ (King ALBERT ll) ครองราชย์เมื่อ ๙ สิงหาคม ๒๕๓๖                               AlbertII.jpg
  2. ราชอาณาจักรเดนมาร์ก (Kingdom of Denmark) ประมุข : สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอ ที่ ๒ แห่งเดนมาร์ก (Her Majesty Queen Mar-grethe ll) ครองราชย์เมื่อ ๑๔ มกราคม ๒๕๑๕ พระสวามี : เจ้าชายเฮนริก (HRH the prince Consort of Denmark Prince Henrik)
  3. ราชรัฐลิกเตนสไตน์ ( Principality of Liechtenstein) ประมุข : เจ้าชายแฮนล์อาดัม ที่ ๒ แห่งราชรัฐลิกเตนสไตน์ (His Serene Highness Prince Hans-Adam ll of Liechtenstein) ครองราชย์เมื่อ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๓๒ พระชายา : เจ้าหญิงโซฟี (Princess Sophie)
  4. ราชรัฐลักเซมเบิร์ก (The Grand Duchy of Luxembourg) ประมุข : เจ้าชายเฮนรี (HRH Grand Duke Henri) ครองราชย์รัฐเมื่อ ๗ ตุลาคม ๒๕๔๓
  5. ราชรัฐโมนาโก (Principality of Monaco) ประมุข : เจ้าชาย อัลเบิร์ต ที่ ๒ แห่งราชวงศ์กริมาลดี (HSH Prince Albert ll of Grimaldi) ครองราชรัฐเมื่อ ๖ เมษายน ๒๕๔๘
  6. ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ (Kingdom of the Netherlands) ประมุข : สมเด็จพระราชนินีนาถเบียทริกซ์ (Her Majesty Queen Beatrix) ครองราชย์เมื่อ 30 เมษายน ๒๕๒๓
  7. ราชอาณาจักรนอร์เวย์ (Kingdom of Norway) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีเฮรัลด์ ที่ ๕ (King Harald V) ครองราชย์เมื่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๒๔
  8. ราชอาณาจักรสเปน (Kingdom of Spain) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีฆวนการ์ลอสที่ ๑ (Juan Carlos l) ครองราชย์เมื่อ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๘ พระมเหสี : สมเด็จพระราชินีโซเฟีย (Queen Sofia)
  9. ราชอาณาจักรสวีเดน (Kingdom of Sweden) ประมุข : สมเด็จ พระราชาธิบดีสาร์ล ที่ ๑๖ กุสตาฟ (HM King Carl XVI Gustaf) ครองราชย์เมื่อ ๑๙ กันยายน ๒๕๑๖ พระมเหสี : สมเด็จพระราชินีซิลเวีย (HM Queen Silvia)
  10. สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ (United Kingdom of Great Britain and Northern Ireland) ประมุข : พระราชินีนาถ เอลิซาเบธที่ ๒ (Queen Elizabeth ll) ครองราชย์ เมื่อ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๔๙๕

วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เจ้าชายฟิลิป กษัตริย์องค์ใหม่เบลเยียมขึ้นครองราชย์แล้ว








เจ้าชายฟิลิปเสวยราชสมบัติเป็นกษัตริย์พระองค์ใหม่ของเบลเยียมอย่างเป็นทางการในวันชาติ 21 กรกฎาคม ต่อจากสมเด็จพรวระราชบิดา ซึ่งทรงตัดสินพระทัยสละราชสมบัติ 

         เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2556 รายงานข่าวแจ้งว่า สมเด็จพระราชาธิบดีอัลแบร์ที่ 2 ทรงลงพระปรมาภิไธยในกฎหมายสละราชสมบัติอย่างเป็นทางการ โดยทรงอ้างเหตุผลว่า เจริญพระชนมพรรษาถึง 79 พรรษาแล้ว และพระวรกายอ่อนล้า  และสภาพพระวรกายที่ไม่แข็งแรงดังเดิมแล้ว พร้อมกันนี้ กษัตริย์อัลแบร์ทรงตรัสขอบพระทัยสมเด็จพระราชินีเปาลาที่ทรงสนับสนุนพระองค์มาโดยตลอด พร้อมกับทรงชื่นชมพระราชโอรสพระองค์โตว่าเปี่ยมด้วยคุณสมบัติที่จะรับใช้ประเทศชาติ

         ในงานราชพิธี เจ้าชายฟิลิปพระชนมายุ 53 ในปัจจุบัน ทรงเครื่องแบบทหารเต็มยศ ขณะตรัสถ้อยคำปฏิญาณในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่เรียบง่ายของพระองค์ด้วยภาษาราชการ 3 ภาษาของเบลเยียม คือ ภาษาฝรั่งเศส, ภาษาเฟลมิช และภาษาเยอรมัน ดังนี้ "ข้าพเจ้าสาบานจะปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายของชาวเบลเยียม"  

         หลังจากนั้น กองทหารเกียรติยศรักษาพระองค์ได้ยิงสลุต 101 นัด สมเด็จพระราชาธิบดีฟิลิป กษัตริย์พระองค์ใหม่ เสด็จออก ณ สีหบัญชร พระบรมมหาราชวัง พร้อมสมเด็จพระราชีนีมาทิลด์ สมเด็จพระราชินี รวมถึงพระราชโอรส 2 พระองค์และพระราชธิดา 2 พระองค์ ท่ามกลางพสกนิกรจำนวนมหาศาล ที่มารอเฝ้าชื่นชมพระบารมี  โดยหลายคนโบกธงชาติและแต่งกายด้วยสีแดง เหลืองและดำ ตามสีธงชาติ
         พระราชพิธีบรมราชาภิเษกถูกเลือกให้ตรงกับงานฉลองวันชาติและฉลอง 20 ปีครองราชย์ของกษัตริย์อัลแบร์ เพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายในภาวะที่ยุโรปยังไม่พ้นจากวิกฤติการเงินเต็มตัว คาดว่างานฉลองทั้งหมดพร้อมกันในวันที่ 21 กรกฎาคม 2556 ใช้งบประมาณราว 600,000 ยูโร (24.45 ล้านบาท)

http://www.dailynews.co.th/world/220716

'แคทเธอรีน'ประสูติกาลพระโอรส!













'แคทเธอรีน'ประสูติกาลพระโอรส!

'ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์' พระชายาในเจ้าชายวิลเลียม มีพระประสูติกาลพระโอรส


                           23 ก.ค. 56  สำนักข่าวต่างประเทศรายงาน อ้างแถลงการณ์ของสำนักพระราชวังเคนซิงตันแห่งอังกฤษ ว่า 'แคทเธอรีน' ดัชเชสแห่งเคมบริดจ์ พระชายาในเจ้าชายวิลเลียม รัชทายาทลำดับที่ 2 แห่งราชวงศ์อังกฤษ มีพระประสูติกาลพระโอรส เมื่อเวลา 16.24 น. (วันจันทร์ ตามเวลาอังกฤษ) หรือ 22.24 น. วันเดียวกันตามเวลาประเทศไทย โดยเจ้าชายน้อย จะเป็นรัชทายาทสืบทอดบัลลังก์ลำดับที่ 3 แห่งราชวงศ์อังกฤษ

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

article-2374931-1AF5AD75000005DC-107_470x663

article-2375299-1AF59756000005DC-231_470x622

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

 พระโอรส, ราชวงศ์อังกฤษ, เจ้าชายวิลเลียม, เจ้าหญิงเคท

วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

เครื่องบิน


  1. Boeing 737-800
  2. แอร์บัส A319-115X CJ 
  3. ยูโรคอปเตอร์ ซูเปอร์พูม่า AS-332L2 Mk-II
  4. โบอิง 737-2Z6
  5. โบอิง737-4Z6
  6. แอร์บัส A310-324 44-444 60202
  7. Bell 412/HP
  8. Bell 412/EP
  9. ยูโรคอปเตอร์ EC 155 B1
  10. คิงแอร์ Kingair 200 
  11. ซิคอร์สกี S-92 
  12. เครื่อง ATR 72-500 

11-111

11-111

44-444/22-222

22-222
55-555
55-555